ไขข้อข้องใจ ทำไมความงามของหญิงสาวในอดีต จึงถูกเปรียบกับดวงจันทร์

 

ไขข้อข้องใจ ทำไมความงามของหญิงสาวในอดีต จึงถูกเปรียบกับดวงจันทร์

เสริมหน้าอกที่ไหนดี ลองมาทางนี้ก่อนสิ K Beauty Hospital โรงพยาบาลเสริมความงามโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากเกาหลี ติดต่อเรา Line : @kbeautyhosp


วรรณคดีหรืองานนิพนธ์ของกวีมักจะมีความเป็นจดหมายเหตุทางค่านิยมอยู่ในตัวเสมอ เนื่องจากงานเขียนแต่ละชิ้นถูกเขียนขึ้นในสภาพสังคม ห้วงเวลา และสถานะที่ต่างกันของตัวกวี ทำให้เกิดนิยาม ค่านิยม หรือความเชื่อที่แตกต่างกันแฝงอยู่ในงานเขียนนั้นhttps://pixabay.com/th/illustrations/aditi-%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7-hydari-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B9%81%E0%B8%9F%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99-%E0%B8%84%E0%B8%99-1748439/

หากจะกล่าวถึงงานเขียนของไทยที่เป็นจดหมายเหตุแห่งกาลเวลาที่บันทึกความเชื่อและค่านิยมในอดีตเอาไว้อย่างครบถ้วน จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องกล่าวถึงวรรณคดีไทย โดยเฉพาะบทชมโฉมหรือชมความงามของนางในวรรณคดีไทยที่เป็นคันฉ่องสะท้อนค่านิยมความงามของหญิงไทยในอดีตได้เป็นอย่างดี

ซึ่งจากการศึกษาของผู้เขียนพบว่าบทชมโฉมหลายบทมักจะกล่าวถึงความงามของใบหน้าหญิงสาวคล้ายกับดวงจันทร์ เช่น “พิศพักตร์ผ่องพักตร์ดั่งจันทร” ชมโฉมนางสีดา จากเรื่องรามเกียรติ์ หรือ “ดังพระจันทร์วันเพ็ญเมื่อผ่องผุด” ชมโฉมนางศรีมาลา จากขุนช้างขุนแผน และ “เปล่งดังดวงจันทร์เพ็ญเด่นเวหา” ชมโฉมนางละเวงวัณฬา จากพระอภัยมณี เป็นต้น



ขอขอบคุณบทความดีๆจาก   women.trueid

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

"ฉันสวย" เรื่องของความสวย ที่คนสวยไม่ได้บอก

รวม 10 สิ่งของผู้หญิง ที่ทำให้หนุ่มๆ ตกหลุมรักได้ แต่ผู้ชายไม่เคยบอกเรา!

ทุกคนต่างงดงามในแบบฉบับของตัวเอง รวม 6 คำพูดจากคนดังที่ชวนหันมารักร่างกายของเราเอง